วันเสาร์ที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2562

Technology การศึกษากับครูในศตวรรษที่๒๑



          Technology
ในยุคสัตวรรษที่๒๑มีความก้าวหน้าเราต้องมีการขวนขวายหาความรู้ตลอดเวลา  และสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้มากและรวดเร็วขึ้น ปัญหาที่สืบเนื่องมาจากจำนวนนักเรียนที่เพิ่มขึ้นต่อห้องเรียน จนทำให้วิธีการสอนแบบเดิมๆ ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ สื่อที่แสดงมีขนาดใหญ่ไม่เพียงพอสำหรับ ผู้เรียนที่อยู่หลังห้อง ความจดจ่อกับผู้สอนถูกเบี่ยงเบนจากพฤติกรรมและสภาพแวดล้อมในชั้นเรียนขนาดใหญ่ ผู้เรียนมีการนำเอาคอมพิวเตอร์พกพาเข้ามาสืบค้นความรู้ในชั้นเรียน และถามคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ครูกำลังสอน หรือนำข้อมูลเหล่านั้นมาพูดคุย โดยที่ครูตอบไม่ได้ หรือไม่เคยรู้มาก่อน เมื่อเป็นเช่นนี้ ผมคิดว่าครูจึงต้องพร้อมที่จะปรับตัวและพัฒนาตนเองให้เท่าทันเทคโนโลยีอยู่เสมอ และต้องมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาทักษะการสอนให้ทันสมัย เพื่อให้เกิดการเรียนรู้เทคนิควิธีการเรียนการสอนแบบใหม่ๆ ที่มีประสิทธิภาพ ทำให้ได้เด็กมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สังคมไทยและสังคมโลกต้องการ

            
ดังที่กล่าวม
ามีความเห็นด้วยอย่างยิ่งทั้งนี้ผู้เรียนจึงต้องมีส่วนร่วมของการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ เพื่อปรับตัวเข่าสู่สังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ถ้าหากเรายังย่ำอยู่กับที่จะเป็นการไม่พัฒนาตัวเอง  เราต้องยอมรับว่าเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาททางการศึกษาเป็นส่วนสำคัญนอกจากนี้ ครูไทยในอนาคตยังต้องมีความรู้จริงในเรื่องที่สอน และต้องมีเทคนิควิธีการให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้จากประสบการณ์ รวมทั้งจัดกิจกรรมเชื่อมโยงความรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก ฝึกให้นักเรียนทำงานเป็นทีม เป็นนักออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสม จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ และแสดงออกซึ่งความรักและความห่วงใยต่อนักเรียน ทั้งนี้
กระบวนการเรียนการสอนดังกล่าวจะสัมฤทธิ์ผลได้ ถ้าทุกคนช่วยกัน หาทางลดปัญหาและอุปสรรคที่ขัดขวางการพัฒนาครู เช่น ภาระงานอื่นนอกจากการสอน กำหนดอัตรากำลังไม่เหมาะสม รวมทั้งครูสอนไม่ตรงสาขา เป็นต้น ซึ่งแนวทางและความเป็นไปได้ในการพัฒนาครูในศตวรรษที่ 21 นั้น ต้องดำเนินการทั้งด้านนโยบายและด้านการพัฒนาตนเองของครูควบคู่กันไป จึงจะทำให้ครูเป็นครูยุคดิจิตอลอย่างแท้จริง


วันอาทิตย์ที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562

เทคโนโลยีกับการเรียนรู้ตลอดชีวิตของครู


เทคโนโลยีกับการเรียนรู้ตลอดชีวิตของครู
                   à¸œà¸¥à¸à¸²à¸£à¸„้นหารูปภาพสำหรับ เทคโนโลยีการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
                              

                               ครูสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้โดยการลงมือปฏิบัติเช่นเดียวกับการเชิญชวนให้นักเรียนร่วมลงมือกับครูด้วย ครูจะอาศัยโอกาสดังกล่าวนี้ในการสังเกตการณ์การท างานและร่วมแบ่งปันประสบการณ์ที่ค้นพบด้วยกัน การ เรียนรู้ลักษณะนี้จะช่วยให้ครูผู้สอนที่จะท าให้ก้าวกระโดดจากทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติที่ประสบความส าเร็จ เพราะ การเรียนการสอนในยุคใหม่ไม่เพียงแต่สอนนักเรียน แต่ยังต้องดูแลและสร้างความสัมพันธ์กับพวกเขาด้วย กระบวนการของการเรียนรู้ผ่านการแก้ปัญหาเป็นขั้นตอนส าคัญ ครูจะกระตุ้นให้ผู้เรียนตั้งค าถามและตรวจสอบ ค าถามของพวกเขา วิธีการเช่นนี้จะท าให้หลักสูตรมีความหมายมากขึ้น บทเรียนไม่จ าเป็นต้องจบลงด้วยค าตอบที่ ถูก แต่ควรจะเป็นค าตอบที่สามารถขยายผลไปสู่การตั้งคำถามของผู้เรียนต่อไป เพราะแนวคิดสมัยใหม่มองว่า ความคิดของนักเรียนมีคุณค่า นักเรียนจะใช้พัฒนาความหมายของตัวเองแทนการถ่ายโอนความรู้จากครู โดยจะ เน้นการคิดเชิงวิพากษ์มากกว่าข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง โดยผู้เรียนจะเรียนด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมีความก้าวหน้าเราต้องมีการขวนขวายหาความรู้ตลอดเวลา  และสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้มากและรวดเร็วขึ้น ปัญหาที่สืบเนื่องมาจากจำนวนนักเรียนที่เพิ่มขึ้นต่อห้องเรียน จนทำให้วิธีการสอนแบบเดิมๆ ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ สื่อที่แสดงมีขนาดใหญ่ไม่เพียงพอสำหรับ ผู้เรียนที่อยู่หลังห้อง ความจดจ่อกับผู้สอนถูกเบี่ยงเบนจากพฤติกรรมและสภาพแวดล้อมในชั้นเรียนขนาดใหญ่ ผู้เรียนมีการนำเอาคอมพิวเตอร์พกพาเข้ามาสืบค้นความรู้ในชั้นเรียน และถามคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ครูกำลังสอน หรือนำข้อมูลเหล่านั้นมาพูดคุย โดยที่ครูตอบไม่ได้ หรือไม่เคยรู้มาก่อน เมื่อเป็นเช่นนี้ ผมคิดว่าครูจึงต้องพร้อมที่จะปรับตัวและพัฒนาตนเองให้เท่าทันเทคโนโลยีอยู่เสมอ และต้องมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาทักษะการสอนให้ทันสมัย เพื่อให้เกิดการเรียนรู้เทคนิควิธีการเรียนการสอนแบบใหม่ๆ ที่มีประสิทธิภาพ ทำให้ได้เด็กมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สังคมไทยและสังคมโลกต้องการ
             ดังที่กล่าวมามีความเห็นด้วยอย่างยิ่ง เครื่องมือเป็นสิ่งสำคัญการสร้างสมรรถณะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตลอดเวลา ตลอดชีวติ เพื่อปรับตัวเข่าสู่สังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ถ้าหากเรายังย่ำอยู่กับที่จะเป็นการไม่พัฒนาตัวเอง  เราต้องยอมรับว่าเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาททางการศึกษาเป็นส่วนสำคัญนอกจากนี้ ครูไทยในอนาคตยังต้องมีความรู้จริงในเรื่องที่สอน และต้องมีเทคนิควิธีการให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้จากประสบการณ์ รวมทั้งจัดกิจกรรมเชื่อมโยงความรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก ฝึกให้นักเรียนทำงานเป็นทีม เป็นนักออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสม จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ และแสดงออกซึ่งความรักและความห่วงใยต่อนักเรียน ทั้งนี้กระบวนการเรียนการสอนดังกล่าวจะสัมฤทธิ์ผลได้ ถ้าทุกคนช่วยกัน หาทางลดปัญหาและอุปสรรคที่ขัดขวางการพัฒนาครู เช่น ภาระงานอื่นนอกจากการสอน กำหนดอัตรากำลังไม่เหมาะสม รวมทั้งครูสอนไม่ตรงสาขา เป็นต้น ซึ่งแนวทางและความเป็นไปได้ในการพัฒนาครูในศตวรรษที่ 21 นั้น ต้องดำเนินการทั้งด้านนโยบายและด้านการพัฒนาตนเองของครูควบคู่กันไป จึงจะทำให้ครูเป็นครูยุคดิจิตอลอย่างแท้จริง




เทคโนโลยีการศึกษากับครูในศตวรรษที่ ๒๑
                   
                              


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เทคโนโลยีการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21


                           ในยุคศตวรรษที่ 21 กระบวนการเรียนอาจมีการเปลี่ยนแปลง โดยผู้เรียนจะเรียนด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยมีความก้าวหน้าเราต้องมีการขวนขวายหาความรู้ตลอดเวลา  และสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้มากและรวดเร็วขึ้น ปัญหาที่สืบเนื่องมาจากจำนวนนักเรียนที่เพิ่มขึ้นต่อห้องเรียน จนทำให้วิธีการสอนแบบเดิมๆ ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ สื่อที่แสดงมีขนาดใหญ่ไม่เพียงพอสำหรับ ผู้เรียนที่อยู่หลังห้อง ความจดจ่อกับผู้สอนถูกเบี่ยงเบนจากพฤติกรรมและสภาพแวดล้อมในชั้นเรียนขนาดใหญ่ ผู้เรียนมีการนำเอาคอมพิวเตอร์พกพาเข้ามาสืบค้นความรู้ในชั้นเรียน และถามคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ครูกำลังสอน หรือนำข้อมูลเหล่านั้นมาพูดคุย โดยที่ครูตอบไม่ได้ หรือไม่เคยรู้มาก่อน เมื่อเป็นเช่นนี้ ผมคิดว่าครูจึงต้องพร้อมที่จะปรับตัวและพัฒนาตนเองให้เท่าทันเทคโนโลยีอยู่เสมอ และต้องมีความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาทักษะการสอนให้ทันสมัย เพื่อให้เกิดการเรียนรู้เทคนิควิธีการเรียนการสอนแบบใหม่ๆ ที่มีประสิทธิภาพ ทำให้ได้เด็กมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สังคมไทยและสังคมโลกต้องการ
             ดังที่กล่าวมามีความเห็นด้วยอย่างยิ่งทั้งนี้ผู้เรียนจึงต้องมีส่วนร่วมของการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ เพื่อปรับตัวเข่าสู่สังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ถ้าหากเรายังย่ำอยู่กับที่จะเป็นการไม่พัฒนาตัวเอง  เราต้องยอมรับว่าเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาททางการศึกษาเป็นส่วนสำคัญนอกจากนี้ ครูไทยในอนาคตยังต้องมีความรู้จริงในเรื่องที่สอน และต้องมีเทคนิควิธีการให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้จากประสบการณ์ รวมทั้งจัดกิจกรรมเชื่อมโยงความรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอก ฝึกให้นักเรียนทำงานเป็นทีม เป็นนักออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสม จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ และแสดงออกซึ่งความรักและความห่วงใยต่อนักเรียน ทั้งนี้
กระบวนการเรียนการสอนดังกล่าวจะสัมฤทธิ์ผลได้ ถ้าทุกคนช่วยกัน หาทางลดปัญหาและอุปสรรคที่ขัดขวางการพัฒนาครู เช่น ภาระงานอื่นนอกจากการสอน กำหนดอัตรากำลังไม่เหมาะสม รวมทั้งครูสอนไม่ตรงสาขา เป็นต้น ซึ่งแนวทางและความเป็นไปได้ในการพัฒนาครูในศตวรรษที่ 21 นั้น ต้องดำเนินการทั้งด้านนโยบายและด้านการพัฒนาตนเองของครูควบคู่กันไป จึงจะทำให้ครูเป็นครูยุคดิจิตอลอย่างแท้จริง


Technology การศึกษากับครูในศตวรรษที่๒๑

            T e c h n o l o g y การศึกษากับครูใน ศตวรรษที่๒ ในยุคสัตวรรษที่๒๑ มีความก้ าวหน้าเราต้องมีการขวนขวายหาความรู้ตลอดเ...